ชุด-ธรรมโฆษณ์ ของ ท่านพุทธทาส เรื่อง ศีลธรรม กับ มนุษยโลก จัดพิมพ์ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา

หน้าแรก » หนังสือ และ การศึกษา » หนังสือทั่วไป

ชุด-ธรรมโฆษณ์ ของ ท่านพุทธทาส เรื่อง ศีลธรรม กับ มนุษยโลก จัดพิมพ์ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา

แบ่งปันให้เพื่อน



ชุด-ธรรมโฆษณ์ ของ ท่านพุทธทาส

เรื่อง ศีลธรรม กับ มนุษยโลก

จัดพิมพ์ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา

จำนวน 490 หน้า

(การนับจำนวนหน้าของหนังสือ จะนับเฉพาะส่วนหน้าหา ไม่นับส่วน คำนำ สารบาญ และส่วนท้าย)





รายชื่อหนังสือชุด ธรรมโฆษณ์

รายชื่อหนังสือ

เลขประจำเล่ม

ราคา

๑. พุทธประวัติจากพระโอษฐ์



350

๒. อิทัปปัจยตา

๑๒

300

๓. สันทัสเสตัพธรรม

๑๓

250

๔. ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เล่ม ๑

๓๖

250

๕. พุทธิกจริยธรรม

๑๘

250

๖. ขุมทรัพย์จากพระโอษฐ์



300

๗.โอสาเรตัพพธรรม

๑๓.ก

250

๘. พุทธจริยา

๑๑

250

๙. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๑

๑๖

250

๑๐. มหิดลธรรม

๑๗.ข

250

๑๑. บรมธรรม ภาคต้น

๑๙

250

๑๒. บรมธรรม ภาคปลาย

๑๙.ก

250

๑๓. อานาปนสติภาวนา

๒๐.ก

300

๑๔. ธรรมปาฎิโมกข์ เล่ม ๑

๓๑

250

๑๕. สุญญตาปริทรรศ์ เล่ม ๑

๓๘

250

๑๖. ค่ายธรรมบุตร

๓๗

250

๑๗. ฆราวาสธรรม

๑๗.ก

200

๑๘. ปรมัตถสภาวธรรม

๑๔.ก

250

๑๙. ปฏิปทาปริทรรศน์

๑๔

250

๒๐. ธรรมบรรยายระดับมหาวิทยาลัย เล่ม ๒

๓๖.ก

250

๒๑. สุญญตาปริทรรศน์ เล่ม ๒

๓๘.ก

250

๒๒. เตกิจฉกธรรม

๓๗.ง

250

๒๓. โมกขธรรมประยุกต์

๑๗.ค

250

๒๔. ศารทกาลิกเทศนา เล่ม ๑

๒๖

300

๒๕. ศีลธรรม กับ มนุษย์โลก

๑๘.ข

250

๒๖. อริยศีลธรรม

๑๘.ค

200

๒๗. การกลับมาแห่งศีลธรรม

๑๘.ก

250

๒๘. ธรรมสัจจสงเคราะห์

๑๘.ข

300

๒๙. ปฏิจจสมุปบาทจากพระโอษฐ์



500

๓๐. ธรรมะกับการเมือง

๑๘.จ

300

๓๑. เยาวชนกับศีลธรรม

๑๘.ง

200

๓๒. เมื่อธรรมครองโลก

๑๘.ฉ

250

๓๓. ไกวัลยธรรม

๑๒.ก

250

๓๔. อาสาฬหบูชาเทศนา เล่ม ๑

๒๔

300

๓๕. มาฆบูชาเทศนา เล่ม ๑

๒๒

300

๓๖. พระพุทธคุณบรรยาย

๑๑.ก

400

๓๗. วิสาขบูชาเทศนา เล่ม ๑

๒๓

300

๓๘. ชุมนุมล้ออายุ เล่ม ๑

๔๒.ก

300

๓๙. ธรรมบรรยายต่อหางสุนัข

๓๙.ค

300

๔๐. เทคนิคของการมีธรรมะ เล่ม ๑

๓๗.ก

300

๔๑. อะไร คือ อะไร

๓๗.ค

300

๔๒. ใคร คือ ใคร

๓๗.ข

300

๔๓. อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น - ภาคปลาย



700

๔๔. ราชภโฎวาท

๓๙.ง

300

๔๕. กข กกา ของการศึกษาพุทธศาสนา

๑๔.ค

250

๔๖. ธรรมะเล่มน้อย

๔๐

250

๔๗. ใจความแห่งคริสตธรรมเท่าที่พุทธบริษัทควรทราบ

๔๔.ก

300

๔๘. ธรรมปาฎิโมกข์ เล่ม ๒

๓๑.ก

300

๔๙. ฟ้าสางระหว่าง ๕๐ ปี ตอน ๑

๔๖.ค

300

๕๐. ฟ้าสาวระหว่าง ๕๐ ปี ตอน ๒

๔๖.ง

300

๕๑. ชุมนุมปาฐกถาธรรมชุด"พุทธรรม"

๓๒

250

๕๒. สมถวิปัสนาแห่งยุคปรมาณู

๑๔.ข

250

๕๓. นวกานุสาส์น เล่ม ๑

๓๙

300

๕๔. สันติภาพของโลก

๑๘.ข

250

๕๕. ธรรมะกับสัญชาตญาณ

๑๕

250

๕๖. ธรรมศาสตรา เล่ม ๑

๔๐.ก

300

๕๗. อตัมมยตาประยุกต์

๑๒.ข

300

๕๘. ธรรมะในฐานะวิทยาศาสตร์

๑๕.ข

300

๕๙. อตัมมยตาประทีป

๑๒.ง

300

๖๐. อตัมมยตาปริทรรศน์

๑๒.ค

300

๖๑. สันทิฏฐิกธรรม

๑๓.ข

250

๖๒. พุทธธรรมประยุกต์

๑๗.จ

250

๖๓. สัมมัตตานุภาพ

๔๐.ฉ

250

๖๔. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๒

๑๖.ก

250

๖๕. โพธิปักขิยธรรมประยุกต์

๑๔.ง

300

๖๖. คู่มือการศึกษาพุทธศาสนา

๔๐.ข

250

๖๗. อานาปานสติบรรยาย-อภิปราย-สัมมนา

๒๐.ค

300

๖๘. พัสสิกไตรเทศนา

๒๕.ง

250

๖๙. ตุลาการิกธรรม เล่ม ๓

๑๖.ข

250

๗๐. คู่มือที่จำเป็นในการศึกษาและปฏิบัติธรรม

๔๐.ช

250

๗๑. ธรรมะคือเรื่องของธรรมชาติ

๓๗.ง

300

๗๒. มนุสสธรรม

๑๗

400

๗๓. พุทธวิธีชนะความทุกข์

๑๔.จ

300

๗๔. หลักพุทธศาสนาที่ยังเข้าใจผิดกันอยู่

๑๔.จ

300

๗๕. ปัญหาแห่งมนุษยภาพ

๑๗.ฉ

300

๗๖. เทคนิคของการมีธรรมะ เล่ม ๒

๓๗.จ

400


หนังสือชุดธรรมโฆษณ์ แบ่งออกเป็นห้าหมวด


๑ หมวดที่หนึ่ง ชุด "จากพระโอษฐ์" สันปกสีน้ำตาล ๑–๑๐
เป็นเรื่องเก็บมาเฉพาะที่ตรัสเล่าไว้เอง.

๒ หมวดที่สอง ชุด "ปกรณ์พิเศษ" สันปกสีแดง ๑๑–๒๐
เป็นคำอธิบายข้อธรรมะที่เป็นหลักวิชาและหลักปฏิบัติอย่างสมบูรณ์.

๓ หมวดที่สาม ชุด "ธรรมเทศนา" สันปกสีเขียว ๒๑–๓๐
เป็นเทศนาตามเทศกาลต่างๆ.

๔ หมวดที่สี่ ชุด "ชุมนุมธรรมบรรยาย" สันปกสีน้ำเงิน ๓๑–๔๐
เป็นการบรรยายในรูปปาฐกถาในเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างละเอียด.

๕ หมวดที่ห้า ชุด "ปกิณกะ" สันปกสีม่วง ๔๑–๕๐
เป็นการอธิบายข้อธรรมะเบ็ดเตล็ดต่างๆ ประกอบความเข้าใจ.

ในแต่ละหมวด แต่ละหมายเลข อาจมีได้หลายเล่ม ซึ่งได้ใช้วิธีใส่อักษร ก ข ค… ต่อกันไปเรื่อยๆ.

.........................................................................................................................................................................

ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่าศีลท่านสาธาธุชน ผู้มีความสนใจในธรรม ทั้งหลาย,

การบรรยายประจำวันเสาร์ ในภาคอาสาฬหบูชา ต่อไปนี้ จะได้กล่าวโดยหัวข้อใหญ่ว่าอริยศีลธรรม. คำว่า "อริยศีลธรรม" กินความกว้างพอที่จะแก้ปัญหาต่าง ๆ ของมนุษย์ได้,และสูงขึ้นไป สูงขึ้นไป จนถึงระดับสูงสุดได้. แต่สำหรับในวันนี้ จะได้กล่าวโดยหัวข้อแบ่งย่อยออกไปว่า ชื่อและความหมายเกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่าศีลธรรม ซึ่งนับว่าเป็นสิ่งที่ต้องทำความเข้าใจกันก่อน จึงจะรู้เรื่องศีลธรรมดี. ๑
๒ อริยศีลธรร
การปรารถเรื่องศีลธรรม นี้ ก็เนื่องมาจากเหตุผลเฉพาะหน้า คืออาการที่โลกกำลังจะวินาศในทางจิตใจ; เพราะความเสื่อมหรือความสิ้นสูญไปของสิ่งที่เรียกว่าศีลธรรม. ความวินาศโดยทางจิตใจนั้น จะน่ากลัวมากหรือน้อยกว่าความวินาศทางร่างกายหรือวัตถุ ก็เป็นสิ่งที่ควรจะคิดดูก่อน แต่ว่าทุก ๆ คนไม่ต้องการความวินาศอย่างใดเลย; ถ้าเมื่อต้องแยกกันว่าอันไหนน่าสนใจกว่าเพราะมีวามสำคัญมาก ก็เป็นสิ่งที่ควรคิดดู.
ถ้าเราจะอยู่กันโดยมีร่างกายเจริญ มีวัตถุเจริญ; แต่ในทางจิตใจไม่มีศีลธรรมแล้วจะอยู่กันอย่างไร. แล้วที่กลับตรงกันข้าม ว่าเราอยู่กันด้วยจิตใจที่เจริญ คือประกอบอยู่ด้วยศีลธรรมจริง ๆ ; แม้จะขาดแคลนในทางวัตถุ หรือไม่ค่อยสบายไม่สะดวกในทางร่างกาย ก็คิดดูเถิดว่ามันจะเป็นอย่างไร, แล้วจะเลือกเอาข้างไหน.
การศึกษาในโลกสมัยนี้ ทำความเจริญทางร่างกายและทางวัตถุอย่างท่วมท้น; แต่แล้วทางศีลธรรมหรือทางจิตใจนั้น เสื่อมลงอย่างไรหรือเท่าไร ก็พอจะมองเห็นกันได้อยู่ : แล้วโลกสมัยนี้ เวลานี้ เป็นอย่างไรบ้าง? มีความผาสุกสบายกันอย่างไร? มีสังคมชนิดไหน?
มันลำบากอยู่หน่อยหนึ่งในข้อที่ว่า พวกเรามีอายุเกินกว่าร้อยปีไปไม่ได้; ฉะนั้นเราจึงไม่อาจจะเปรียบเทียบโลกสมัยนี้ กับโลกเมื่อสองสามร้อยปี หรือพันปีมาแล้วได้ด้วยตนเอง. ต้องอาศัยการศึกษาการคำนวณ ว่าในสมัยพระพุทธเจ้า จะต้องเชื่อได้ว่า ทางวัตถุนี้ไม่เจริญแน่ :ไม่รู้จักรถยนต์ รู้จักแต่เกวียน, ไม่มีรถยนต์แล้วก็ไม่มีเรือบิน ไม่มีอะไรต่าง ๆ, ไม่ได้เป็นอยู่


ชื่อและความหมาย เกี่ยวกับสิ่งที่เรียกว่าศีลธรรม ๓

อย่างที่เดี๋ยวนี้เขาเป็นอยู่กัน; แต่ก็มีความสูงสุดในทางศีลธรรม ตามแบบของศีลธรรม แล้วเขาก็อยู่กันอย่างไร.
เดี๋ยวนี้มันสูงสุดในทางวัตถุ ไปเป็นทาสของวัตถุ ตามันก็บอด ไม่สนใจในศีลธรรมศีลธรรมก็เสื่อมไป ๆ ตามลำดับ. ในประเทศไทยเรานี้ ศีลธรรมก็เสื่อม ๆ ตั้ง ๒๐ - ๓๐ ปีมาแล้ว; มีผลปรากฎชัดยิ่งขึ้นทุกที; โดยเฉพาะปัจจุบันนี้พูดกันไม่รู้เรื่อง ไม่มีความสามัคคี ไม่มีความกตัญญูกตเวที ไม่มีความเคารพคนเฒ่าคนแก่ ต่าง ๆ เหล่านี้.
ถ้าไม่อาจจะเปรียบเทียบกับเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วได้ ก็เปรียบเทียบกันดูว่า เมื่อสัก๓๐ ปีมานี้ ความเดือดร้อนระส่ำระสายมันมีมากน้อยเท่าไหร่? ต่างกันอย่างไร? คนเห็นแก่ตัวมากหรือน้อยกว่ากันอย่างไร? นี้ก็พอจะมองเห็นได้. ความปลอดภัยในร่างกาย ชีวิต ทรัพย์สมบัตินี้มีมากน้อยเท่าไร? นี้ก็พอจะมองเห็นได้. แม้เรื่องเมื่อหลายร้อยปีมาแล้วก็พอจะคำนวณได้ โดยการศึกษาจากประวัติศาสตร์หรืออะไรต่าง ๆ.
แม้แต่จะเทียบเคียงดูด้วยเหตุผลง่าย ๆ นี้ก็ยังจะมองเห็นได้ว่าเมื่ออาตมาเด็ก ๆ พ่อแม่เขาสอนคาถา; เมื่อจะปลูกต้นไม้มีผล ก็ต้องว่าคาถาว่า : "นกกินเป็นบุญ คนกินเป็นทาน, นกกินเป็นบุญ คนกินเป็นทาน", ว่าคาถา ๓ ครั้งเสียก่อนจึงจะเอาหน่อกล้วย หรือหน่อสับปะรด ใส่ลงไปในหลุมแล้วกลบดิน นี่แสดงความหมายอย่างใดบ้าง? เขาเผื่อไว้เสร็จแล้ว ว่าถ้าผลไม้นี้เป็น

๔ อริยศีลธรรม

ผลขึ้นมา สัตว์กินก็ได้ : เราก็ได้บุญ. คนมาเก็บเอาไปกิน ไม่บอกก็ได้ ; เรียกว่าเราให้ทานคือทำไว้เสร็จแล้ว. ฉะนั้น จึงไม่มีปัญหา เมื่อมีสัตว์มากิน หรือมีคนมาเก็บไปกิน
แต่เดี๋ยวนี้มันไม่ใช่อย่างนั้น ไม่มีใครคิดอย่างนั้น ถ้านกมากินก็เอาปืนมา, ถ้าคนมากินก็เอาปืนมา หรือว่าจับไปส่งตำรวจ; แสดงความแตกต่างกันมากในทางจิตใจ. สมัยโน้นเขาทำอะไร เขาเผื่อผู้อื่นไว้เสร็จแล้ว, เผื่อสัตว์อื่นไว้เสร็จแล้ว. เดี๋ยวนี้ไม่มีใครคิดว่า จะเผื่อผู้อื่นหรือสัตว์อื่น ; เพราะความเห็นแก่ตัว. นี่ในระยะไม่กี่ปี มันยังต่างกันอย่างนี้; แล้วคำนวณดูด้วยเหตุผล มันก็ไม่มีทางจะผิด; เพราะยิ่งไกลออกไป มันก็ยิ่งมีระเบียบ ประเพณีขนบธรรมเนียม หรือศีลธรรมที่ทำจิตใจให้สะอาด สว่าง สงบ มาก.
นี้ถ้าดูผลของมันก็คือว่า ในสมัยที่แล้วมา มันไม่ยุ่งยาก ลำบากเรื่องการเบียดเบียนมากเหมือนอย่างเดี๋ยวนี้; เขานอนตามใต้ถุนเรือนก็ได้ นอนที่ไหนก็ได้มันปลอดภัย; เดี๋ยวนี้นอนในห้องแน่นหนาก็ยังไม่ปลอดภัย. กล่าวได้ว่า เมื่อก้าวหน้าในทางวัตถุ มันก็เกิดความเห็นแก่ตัวอย่างหลับหูหลับตา ก็เลยมีผลเกิดขึ้นมาอย่างตรงกันข้ามจากการที่ไม่เห็นแก่ตัว.
นี้เป็นตัวอย่างที่แสดงให้เห็นว่า การมีศีลธรรม กับการเจริญทางร่างกาย ทางเนื้อหนังนี้ ไม่ใช่สิ่งเดียวกัน สามารถจะแยกจากกันได้, หรือสามารถจะทำให้มีพร้อม ๆ กันก็ได้.แต่ต้องระวังในข้อที่ว่า ถ้ามีความหลงใหลในทางวัตถุแล้วศีลธรรมมันก็ค่อย ๆ หายไปเอง; ถ้าจะเจริญกันในทางวัตถุแล้วก็จะต้องระวังให้มากสักหน่อย อย่าให้ถึงกับทำลายเรื่องทางนามธรรมหรือทางจิตใจ ... ... ... ...


  


ราคา: 200 ต้องการ: ขาย/ให้เช่า/แลก
ติดต่อ: ไตรลักษณ์ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา เลขที่ 19/5 ริมกอีเมล์: 
สภาพ: ใหม่ จังหวัด: นครปฐม
โทรศัพย์: 086-461-8505IP Address: 125.24.4.248



ดูสินค้าอื่นๆ | ลงประกาศ | เลื่อนประกาศขึ้น | ลบประกาศ | แก้ไขประกาศ

[ รับจำนอง ขายฝาก บ้าน ที่ดิน ทั่วประเทศ กู้เงินง่าย ได้เงินไว ไม่เช็คแบล็คลิส ]





ประกาศอื่นๆในหมวดหมู่เดียวกัน 20 รายการ (แสดงทั้งหมด)

รูป   รายละเอียด ราคา
  30
  0 บาท
  สามารถดูได้ผ่านเว็บไซต์
  90
  59
  350-750
  99
  300
  300
  250
  130
  ไม่ระบุ
  ไม่ระบุ
  150
  500
  100
  70
  ไม่ระบุ
  30
  xxx